UFABET OFFICIAL เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ
UFABET OFFICIAL เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ
กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา ( กยศ .) จัดตั้งขึ้นตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2538 และมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2539 ให้เริ่มดำเนินการกองทุนในลักษณะเงินทุนหมุนเวียน ตามนัยมาตรา 12 แห่งพระราชบัญญัติเงินคงคลัง พ.ศ. 2491 ต่อมารัฐบาลได้พิจารณาเห็นความสำคัญของกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษามากขึ้น จึงได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา สล็อตออนไลน์
พ.ศ. 2541 มีผลให้กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษามีฐานะเป็นนิติบุคคล โดยอยู่ในการกำกับดูแลของกระทรวงการคลัง มีวัตถุประสงค์ให้กู้ยืมเงินแก่นักเรียนหรือนักศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพย์เพื่อเป็นค่าเล่าเรียน ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับการศึกษา และค่าใช้จ่ายที่จำเป็นในการครองชีพระหว่างศึกษา แทงบอล
วิสัยทัศน์
“เป็นองค์การที่ให้โอกาสทางการศึกษา เพื่อพัฒนาสังคมไทยให้ยั่งยืน”
พันธกิจ
1. ให้กู้ยืมกับนักเรียน นักศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ หรือศึกษาในสาขาที่เป็นความต้องการหลักและมีความจำเป็นต่อการพัฒนาประเทศ บาคาร่า
2. การพัฒนาองค์การสู่ความเป็นเลิศด้านการให้บริการโดยใช้หลักบริหารจัดการที่ดี
1. ผู้กู้ยืมลงทะเทียบรับรหัสผ่าน โดยขั้นตอนนี้จะเป็นขั้นตอนสำหรับผู้กู้ยืมรายใหม่เท่านั้น
2. ผู้กู้ยืมยื่นแบบคำขอกู้ยืม ผู้กู้รายใหม่และรายเก่า ต้องยื่นใบคำขอกู้ยืมภายในเวลาที่กองทุนกำหนด
3. สถานศึกษาตรวจสอบคุณสมบัติ ตรวจสอบคุณสมบัติ สัมภาษณ์และคัดเลือกนักเรียน นักศึกษาผู้มีสิทธิกู้ยืม
4. สถานศึกษาบันทึกกรอบวงเงินกู้ยืมทั้งปี สถานศึกษาบันทึกกรอบวงเงินกู้ยืมทั้งปีลงในระบบ e-Studentloan บาคาร่า
5. สถานศึกษาประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิกู้ยืม สถานศึกษาประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิกู้ยืมลงในระบบ e-Studentloan
6. ผู้กู้ยืมทำสัญญากู้ยืมเงิน ผู้กู้ยืมรายใหม่หรือรายเก่าที่เปลี่ยนระดับหรือเปลี่ยนสถานศึกษา ต้องบันทึกและพิมพ์สัญญากู้ยืมเงินในระบบ e-Studentloan และส่งสัญญาพร้อมเอกสารประกอบที่ได้ลงนามแล้วให้สถานศึกษาตรวจสอบความถูกต้อง
7. สถานศึกษาตรวจสอบความถูกต้องของสัญญา ตรวจสอบแล้ว สถานศึกษาจะส่งข้อมูลลงในระบบ e-Studentloan พร้อมลงนามในสัญญา
8. ผู้กู้ยืมบันทึกค่าเล่าเรียนและค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับการศึกษา ค่าใช้จ่ายจะต้องไม่เกินจำนวนที่สถานศึกษาเรียกเก็บจริงในระบบ e-Studentloan
9. สถานศึกษาพิมพ์แบบลงทะเบียนให้ผู้กู้ลงนาม สถานศึกษาลงทะเบียนในระบบพร้อมกับพิมพ์แบบลงทะเบียน/แบบยืนยันจำนวนเงินค่าเล่าเรียน ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับการศึกษา และค่าครองชีพ และให้ผู้ที่เกี่ยวข้องลงนาม
10. สถานศึกษาตรวจสอบและยืนยันข้อมูลของแบบลงทะเบียน สถานศึกษาตรวจสอบและยืนยันข้อมูลของแบบลงทะเบียน แบบยืนยันจำนวนเงินค่าเล่าเรียน ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับการศึกษาและค่าครองชีพในระบบ e-Studentloan
11. สถานศึกษานำส่งสัญญาและแบบลงทะเบียนฯ ให้ธนาคาร สถานศึกษารวบรวมสัญญาและเอกสารประกอบสัญญากู้ยืมและแบบลงทะเบียนฯ จัดส่งผู้บริหารและจัดการเงินให้กู้ยืม
ผู้กู้ยืมจะต้องชำระเงินกู้ยืมคืนกองทุนหลังจากที่สำเร็จหรือเลิกการศึกษาแล้ว 2 ปี และต้องชำระให้เสร็จภายในเวลา 15 ปี โดยมีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 1 ต่อปี
กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา หรือกยศ. เป็นนโยบายสำคัญที่ให้โอกาสทางการศึกษาและอนาคตการทำงานแก่คนหนุ่มสาววัยเรียนทั้งหลาย ทว่าพฤติกรรม “ชักดาบ” ไม่ยอมชดใช้หนี้ของคนจำนวนหนึ่งส่งผลให้เกิดวิกฤตครั้งใหญ่หลังประสบปัญหาทางด้านการติดตามและจ่ายเงินคืน
ล่าสุด เมื่อเร็วๆนี้ กองทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษา ร่วมกับกรมบังคับคดี กระทรวงยุติธรรม ได้ดำเนินการยึดทรัพย์ลูกหนี้ กยศ.แล้ว 1,020 ราย ขณะที่อีกกว่า 20,000 รายเตรียมเจรจาไกล่เกลี่ย เพื่อหาทางออกอย่างเหมาะสมทั้งสองฝ่าย
เป็นหนี้(กยศ.)ต้องชดใช้
ข้อมูลของกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) ระบุว่า ตลอด 19 ปีที่ผ่านมามีผู้กู้ยืมเงินกยศ.ทั้งหมดประมาณ 4.5 ล้านราย แบ่งเป็นผู้ครบกำหนดชำระหนี้ทั้งสิ้น 3.1 ล้านราย ประกอบไปด้วยผู้กู้ทั่วไปซึ่งชำระบ้างไม่ชำระบ้าง 2.1 ล้านราย เข้าร่วมไกล่เกลี่ยหนี้จำนวน 1.2 แสน และถูกดำเนินคดีไปแล้ว 8 แสนราย
ทั้งนี้ ปีการศึกษา 2558 มีผู้กู้รายเก่าและรายใหม่ทั้งหมดกว่า 750,000 ราย ในจำนวนนี้เป็นผู้กู้รายใหม่ ราว 200,000 ราย ซึ่งวัดจากภาพรวมพบว่าจำนวนผู้กู้รายใหม่ลดลงกว่าปีที่ผ่านมา สาเหตุมาจาก กยศ.จำกัดจำนวนผู้กู้ไม่ให้เกิน 200,000 ราย อีกทั้งอัตราการเกิดของประชากรลดน้อยลง จึงทำให้นักเรียน นักศึกษาในสถาบันลดน้อยลงด้วย
ดร.ฑิตติมา วิชัยรัตน์ ผู้จัดการกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษากยศ.) เผยว่า ปี 2558 มีผู้ชำระหนี้เพิ่มมากขึ้นจากปีก่อน ประมาณ 2.2 ล้านคน ซึ่งเป็นผลมาจากการรณรงค์ชำระหนี้ในโครงการต่างๆ โดยเฉพาะการจ้างบริษัทติดตามหนี้ โดย ได้คืนประมาณ 3,500 ล้านบาท ต่างจากปี 2557 ที่ได้เงินคืนมา 800 ล้านบาท ทั้งหมดนี้สะท้อนให้เห็นว่าทิศทางการดำเนินงานของกยศ.เป็นไปในทางที่ดีขึ้น
“เม็ดเงินในแต่ละปีของกยศ.มาจากงบประมาณแผ่นดินและเงินชำระหนี้ของลูกหนี้ในแต่ละปี หากไม่มีการชำระหนี้ก็เท่ากับตัดโอกาสทางการศึกษาของเยาวชนในรุ่นต่อไป เป้าหมายใหญ่ของ กยศ. คือลดความเหลื่อมล้ำเเละสร้างความเท่าเทียมกันให้คนในสังคมผ่านการศึกษา ฉะนั้นขอให้เห็นคุณค่าของการได้รับโอกาสและคุณค่าของการส่งต่อโอกาสให้ผู้อื่น ยืมแล้วต้องชดใช้”ผู้จัดการกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา กล่าว
ไม่มี ไม่หนี ไม่จ่าย
เมื่อปี 2556 สภาการศึกษา(สกศ.) ได้มีศึกษาสภาพและผลการกู้ยืมเงินกยศ.ในจังหวัดขอนแก่น พบว่า สาเหตุที่ลูกหนี้ไม่ชำระเงินคืน เนื่องจากมีรายได้ไม่เพียงพอต่อการใช้หนี้ บางคนเข้าใจว่าไม่ต้องใช้ก็ได้ เพราะมีการสอนกันมาระหว่างรุ่นพี่สู่รุ่นน้อง สำหรับการติดตามและชำระหนี้เงินกู้
พบว่า นักศึกษา 80 % เห็นด้วยที่จะให้มีการบันทึกประวัติผู้กู้ในเครดิตบูโร โดยให้กรมสรรพากรเป็นผู้ติดตามหนี้ และหนี้เงินกู้มีลักษณะเสมือนหนี้ภาษีอากรค้างที่เจ้าหน้าที่สามารถบังคับหนี้ อายัด ยึดทรัพย์ ขายทอดตลาดได้โดยไม่ต้องเข้าสู่กระบวนการของศาล
“ไม่ใช่ไม่อยากจ่าย เเต่งวดเเรกยังตั้งตัวไม่ทัน ทำงานได้ 2 ปีก็จริง แต่เงินเดือนยังถือว่าไม่มาก การจ่ายทันทีเกือบ 5,000 บาททำให้เสียสมดุลทางการเงินในเดือนนั้นอย่างเเน่นอน ยอมรับว่าเราไม่มีการเตรียมตัวหรือวางแผนการเงินที่ดี แต่ปีหน้าจะขอแก้ตัวใหม่เเละทำเรื่องผ่อนชำระเป็นรายเดือน ซึ่งน่าจะเหมาะสมกับเเนวทางการใช้จ่ายของตัวเองมากกว่า ขอยืนยันไม่หนีเเน่นอน”
เป็นคำยืนยันของอดีตนักศึกษาเงินกู้กยศ.รายหนึ่งซึ่งยอมรับว่า ชีวิตยังไม่เข้าที่เข้าทางจนพร้อมที่จะชำระหนี้ได้
สุพัชรพร พนักงานบริษัทเอกชนแห่งหนึ่ง บอกเหตุผลของการไม่ชำระหนี้สั้นๆว่า ยังไม่พร้อม
“เข้าใจว่าเงินไม่เยอะ แต่ภาระค่าใช้จ่ายส่วนตัวยังไม่เข้าที่เข้าทาง ต้องส่งเงินให้พ่อแม่ จ่ายค่าบ้านและจิปาถะอื่นๆ ก็เลยยังไม่พร้อมสักที อีdอย่างดอกเบี้ยกยศ.ต่ำทำให้กลายเป็นยอดหนี้ลำดับสุดท้ายที่คิดถึง แต่ขอยืนยันว่าไม่เคยคิดหนีอย่างแน่นอน
ยิ่งล่าสุดมีข่าวคราวการยึดทรัพย์ออกมาให้เห็น เรายิ่งรู้สึกว่าถึงอย่างไรก็ต้องจ่าย และหากถามว่ารู้สึกผิดต่อเด็กรุ่นใหม่ไหม ก็ขอตอบว่าใช่แน่นอน ทำไมจะไม่รู้สึก” ลูกหนี้กยศ.รายนี้กล่าวด้วยความรู้สึกสำนึกผิด
ไม่จ่าย=ทำลายอนาคตคนอื่น
ภูมิวสันต์ สุวรรณรัตน์ หนึ่งในลูกหนี้กยศ. มองว่า การชำระหนี้เป็นหน้าที่ที่ทุกคนพึงกระทำ แม้จะมีปัญหาในการบริหารจัดการเงินขนาดไหนก็ตาม
“การบริหารเงิน 15,000 บาทต่อเดือนในเมืองหลวงค่อนข้างลำบาก และน้อยครั้งที่จะมีเงินเหลือเก็บในแต่ละเดือน ส่วนตัวเป็นหนี้กยศ.3 แสนบาท เนื่องจากกู้ทั้งค่าเล่าเรียนและค่าครองชีพ มีระยะเวลาการชำระทั้งสิ้น 15 ปี สามครั้งที่ผ่านมาเมื่อถึงกำหนดเวลา
เราจ่ายแบบไม่ต้องคิดมาก แค่นึกถึงโอกาสที่ได้รับจากเงินตรงนี้ แค่นั้นภาพของคนที่ต้องการโอกาสทางการศึกษาเหมือนเราก็ผุดขึ้นมาแล้ว ถ้าเราไม่จ่ายก็เหมือนทำลายอนาคตคนอื่นโดยตรง”
สนับสนุน โดย Joker Slot , Sa game , Sexy Game , Joker Game , UFABET 72 , Esport , Sa gaming , Sexy gaming , Sa gaming , joker gaming , Joker slot , Slot game , Joker slot , Joker slot
Last Update : 25 กรกฎาคม 2020 (ข้อมูลล่าสุดปี 2020)